แผลเบาหวาน No Further a Mystery

ไม่มีอาหารใด ๆ ที่แสลงต่อบาดแผลดังที่ชาวบ้านมักเข้าใจกันแบบผิด ๆ ไม่ว่าจะเป็นเนื้อ ไข่ ส้ม ฯลฯ หรืออะไรก็ตาม แต่ตรงกันข้ามผู้ที่มีบาดแผลควรบำรุงด้วยอาหารจำพวกโปรตีนให้มาก ๆ เช่น เนื้อ นม ไข่ ถั่วต่าง ๆ เป็นต้น เพราะจะช่วยทำให้แผลหายเร็วขึ้น นอกจากนี้ควรบำรุงด้วยอาหารที่มีวิตามินซีสูง เช่น ฝรั่ง มะละกอ ส้มต่างๆ บร็อคโคลี่ พริกหวานสีแดง เป็นต้น เพราะวิตามินซีมีหน้าที่สร้างผนังของเซลล์ ทำให้เส้นเลือดฝอยมีความแข็งแรงและไม่ก่อให้เกิดการอักเสบ อีกทั้งยังช่วยในการไหลเวียนของเลือดให้ดีขึ้นด้วย จึงทำให้บาดแผลหายเร็วขึ้น รวมถึงอาหารที่อุดมไปด้วยธาตุสังกะสี เช่น เนื้อสัตว์ นม ไข่ ตับ ชีส ถั่วเหลือง เป็นต้น เพราะธาตุสังกะสีจะช่วยให้เซลล์สามารถจับกับวิตามินได้มากขึ้น จึงกระตุ้นให้แผลหายเร็วขึ้น

เลิกสูบบุหรี่ เนื่องจากสารพิษในบุหรี่อาจทำลายหลอดเลือด ส่งผลให้การไหลเวียนของเลือดผิดปกติและอาจทำให้แผลหายช้าลงได้

นโยบายคุกกี้

แผลมักเกิดในตำแหน่ง ปลายเท้า หรือตำแหน่งรับน้ำหนัก

หากมีอาการดังกล่าวข้างต้นควรเข้ารับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวาน เพื่อรับการรักษา ไปพร้อม ๆ กับปรับเปลี่ยนพฤติกรรมแต่เนิ่น ๆ ซึ่งจะช่วยลดโอกาสเสี่ยงของอาการแทรกซ้อนระยะยาว เช่น ไตเรื้อรัง โรคหัวใจและหลอดเลือด ที่อาจตามมาได้

ภาวะแทรกซ้อนเหล่านี้สามารถป้องกันและชะลอได้ โดยควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้ใกล้เคียงปกติ และควบคุมโรคร่วมที่สำคัญ เช่น โรคความดันโลหิตสูงและโรคไขมันในเลือดสูง เป็นต้น

โรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์ วินิจฉัยขณะตั้งครรภ์ และภาวะนี้มักหายไปหลังจากคลอด

  โรคเบาหวานกับเท้า

รองเท้าอาจเพิ่มอาการบาดเจ็บให้กับเท้าของผู้ป่วยเบาหวานได้ หากเลือกใส่รองเท้าที่แข็ง หนา หรือคับจนเกินไป อาจทำให้เกิดการเสียดสีจนเจ็บ เป็นตุ่ม แผลเบาหวาน หรือตาปลาได้ ควรสวมรองเท้าที่เหมาะสมกับขนาดของเท้าและใช้วัสดุที่ไม่ก่อให้เกิดอาการระคายเคืองได้ง่าย ทางที่ดีควรปรึกษาคุณหมอหรือผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับรองเท้าที่เหมาะสำหรับผู้ป่วยโรคเบาหวาน

เสี่ยงสูญเสียนิ้วและเท้า โดยเฉพาะผู้สูงอายุจะมีอัตราเสี่ยงต่อการเกิดแผลเรื้อรังและติดเชื้อรุนแรงมากกว่าคนปกติ เพราะระดับน้ำตาลสูง เส้นเลือดแดงตีบ เลือดไม่ไปเลี้ยง กลไกการต่อสู้กับเชื้อโรคบกพร่อง เสี่ยงต่อการติดเชื้อ อีกทั้งมีโอกาสเกิดเนื้อตายจากเส้นเลือดแดงส่วนปลายตีบนำไปสู่การสูญเสียนิ้วหรือขาได้

หายช้า เนื่องจากแผลเบาหวานเกิดจากหลอดเลือดแดงตีบ ทำให้เลือดนำออกซิเจนและสารอาหารไปเลี้ยงอวัยวะส่วนปลายได้ไม่ดี ทำให้แผลขาดเลือดไปเลี้ยง แผลหายยาก หายช้า หรืออาจไม่หาย

การดูแลแผลเรื้อรังในผู้ป่วยเบาหวาน

เข้าพบคุณหมอตามนัดหมายอย่างสม่ำเสมอ และรับประทานยาตามที่คุณหมอสั่งอย่างเคร่งครัดเพื่อควบคุมระยะของโรคเบาหวานไม่ให้ลุกลามจนเกิดภาวะแทรกซ้อนอื่น ๆ ตามมา

คำแนะนำในการปฏิบัติตัวสำหรับผู้เป็นเบาหวาน

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *